Page 50 - E-BOOK
P. 50

๙
            ยังมีค�าถามว่าใครหรือกลุ่มใดที่จะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับวัคซีนเป็นกลุ่มถัดไป  ดังนั้นการเข้าถึงวัคซีน
            ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและทันการณ์ยังคงเป็นสิ่งที่ต้องให้ความส�าคัญเช่นกัน ทั้งนี้องค์การอนามัยโลก (WHO)

            คาดว่าโรคโควิด 19 อาจคร่าชีวิตผู้คนถึง 2 ล้านคนทั่วโลกและอาจสูงยิ่งกว่านั้น ก่อนที่จะมีวัคซีนใช้อย่างแพร่หลาย

                    ส�าหรับด้านของยารักษาโรคโควิด  19  องค์การเภสัชกรรมได้วิจัยและพัฒนายาฟาวิพิราเวียร์
            (Favipiravir) มาตั้งแต่กลางเดือนมีนาคม 2๕๖๓ ยาฟาวิพิราเวียร์เป็นหนึ่งในยาที่มีประสิทธิภาพในการ
            รักษาโรคโรคโควิด 19 ซึ่งมีความจ�าเป็นอย่างมากที่ประเทศไทยจะต้องจัดให้มีเพียงพอใช้ เนื่องจากมี

            การคาดการณ์ว่าจะมีการแพร่ระบาดต่อเนื่องราว 1-2 ปี ปัจจุบันประเทศไทยได้ศึกษาจากยาต้นแบบ
            ในญี่ปุ่น และจีนที่น�าเข้ามา ซึ่งได้มีการจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้พัฒนาและผลิตยาเม็ดฟาวิพิราเวียร์ได้เอง
            ภายในประเทศ  คัดเลือกแหล่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพมาตรฐานจากประเทศจีน  ด้านการวิจัยพัฒนาการ
            สังเคราะห์วัตถุดิบยาฟาวิพิราเวียร์ ทางองค์การเภสัชกรรมได้ร่วมมือกับส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์

            และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�าหรับด�าเนินการในกระบวนการสังเคราะห์วัตถุดิบระดับห้องปฏิบัติการ
            ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในระยะเวลา ๓-๖ เดือน จากนั้นองค์การเภสัชกรรมจะน�ามาขยายขนาดการ
            สังเคราะห์สู่ระดับกึ่งอุตสาหกรรม 1๐

                    ด้วยข้อจ�ากัดขององค์ความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดใหญ่โรคโควิด 19 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ความไม่กระจ่าง

            ในเรื่องธรรมชาติของการเกิดโรค  การป้องกันและการรักษาจึงยังมีความจ�าเป็นเร่งด่วนในการพัฒนา
            องค์ความรู้ใหม่ เช่น องค์กรอนามัยให้ค�าแนะน�าว่าไม่มีความจ�าเป็นในการสวมใส่หน้ากากอนามัย ให้ใส่เฉพาะ
            ผู้ที่ป่วย แต่ภายหลังได้เปลี่ยนค�าแนะน�าใหม่ให้ประชาชนป้องกันการติดเชื้อโดยการสวมใส่หน้ากากอนามัย

            การพัฒนาชุดคัดกรองที่มีความไวและความจ�าเพาะสูงต่อการเกิดโรคเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
            อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม การพัฒนาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่ได้เปิดรับข้อเสนอ
            การวิจัยหรือให้การสนับสนุนทุนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคระบาดเพิ่มมากขึ้น เช่น (1) กระทรวงการอุดมศึกษา
            วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ประกาศรับข้อเสนอทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาการระบาด
            ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโรคโควิด 19 (2) ส�านักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้มีการสนับสนุนทุน

            วิจัยและนวัตกรรมโรคโรคโควิด 19 ที่มีความต้องการให้เกิดการพัฒนาเป็นนวัตกรรมสุขภาพในการป้องกัน
            ควบคุมโรคโดยผลการวิจัยและนวัตกรรมจะต้องมีเป้าหมายของผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมภายใต้
            ๔ ประเด็นส�าคัญ คือ การวิจัยและพัฒนาหน้ากากอนามัย N95 เพื่อใช้ทางการแพทย์, การวิจัยและพัฒนาชุด

            ป้องกันส่วนบุคคลของบุคลากรการแพทย์ การวิจัยและพัฒนาเครื่องช่วยหายใจ, การวิจัยและพัฒนาระบบห้อง
            และการปรับอากาศแรงดันลบ และโรงพยาบาลสนาม (๓) กองการต่างประเทศ วช.ส่งเสริมให้นักวิจัยได้มีโอกาส
            พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางการวิจัยกับต่างประเทศเพื่อน�าไปสู่การป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากการ
            ระบาดของโรคโควิด 19 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (๔) ส�านักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
            วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) สนับสนุนองค์ความรู้ขั้นแนวหน้าทางด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ

            ศิลปกรรมศาสตร์ โดยการเรียนรู้และทบทวนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
            ไวรัสโรคโควิด 19  เป็นต้น

                    ท่ามกลางสถานการณ์ของวิกฤติสุขภาพจากโรคระบาดใหญ่ ได้เกิดผลกระทบจากการระบาดของข้อมูล
            ข่าวสารที่ไม่ถูกต้อง (Infodemic) มีข่าวปลอมข่าวเท็จเผยแพร่อย่างรวดเร็ว จนเกิดการระบาดของข้อมูลข่าวสาร

            ที่ไม่ถูกต้อง คลาดเคลื่อน หรือบิดเบือนเกี่ยวกับโรคระบาดใหญ่โรคโควิด 19 ตั้งแต่ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรค
            ลักษณะการแพร่ระบาด  เกิดกรณีที่ถกเถียงกันเรื่องแพร่กระจายเชื้อผ่านอากาศได้หรือไม่ การท�าความสะอาด
            บริเวณสถานที่อันเป็นพื้นที่เฉพาะมาก ๆ หรือพื้นที่เสี่ยงที่ท�าให้เกิดฝุ่นฟุ้งกระจาย เมื่อตีความผิดจึงท�าให้





            ๔๘ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๓
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55