Page 33 - E-BOOK
P. 33

สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๑๓                                                      สมัชชาสุขภาพ ๑๓ / หลัก ๓
 ระเบียบวาระที่ ๒.๑                                                                            ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓


 เสนทางเดินของมติ ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต



 ปจจัยนำเขา  กระบวนการ    ผลผลิต/ตัวชี้วัด                                    ผลลัพธ/ผลกระทบ
 ๑. การดำเนินการเรื่อง “สิทธิในอาหาร”


 เสนอใหมีการบัญญัติ “สิทธิในอาหาร” ไวในรัฐธรรมนูญ  “สิทธิในอาหาร” ไดรับการบัญญัติไวใน รางรัฐธรรมนูญ  ในประเทศไทย “สิทธิในอาหาร” เปนสิทธิ
 รัฐบาล/  แหงราชอาณาจักรไทย  แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ....             ของประชาชนที่รัฐมีหนาที่ในการปกปอง
 ทุกภาคสวน                                                            ดูแล และคุมครอง รวมกับทุกภาคสวน
 ดำเนินการเพื่อปกปอง “สิทธิในอาหาร” ของประชาชนทุกคนใน  “สิทธิในอาหาร” เปนหลักการพื้นฐานในการดำเนินการของ  ของสังคม
 ภาวะวิกฤต (ดำเนินการตามกระบวนการหัวขอ ๒-๕ ของมตินี้)  ทุกภาคสวนในเรื่องความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต
 ๒. การจัดทำนโยบายและแผนปฏิบัติการระดับชาติ


 สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ  จัดทำนโยบาย และแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยความ  มีนโยบาย และแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวย  ในป พ.ศ. ๒๕๖๘ ประเทศไทยมีความพรอม
 สังคมแหงชาติ/ทุกภาคสวน  มั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต โดยการมีสวนรวมของ  ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต  และสามารถจัดการอาหารในภาวะวิกฤตได
 ทุกภาคสวนใหแลวเสร็จ ภายใน ๒ ป

 ๓. การพัฒนาระบบอาหารใหพรอมรับภาวะวิกฤต

 ดานการผลิตอาหาร                                                                  ในทุกภาวะวิกฤต ประชาชนทุกคน

 บังคับใช ม. ๑๒ ของ พ.ร.บ. คณะกรรมการอาหารแหงชาติ                                ในทุกพื้นที่ของประเทศไทยจะได
                                                                                   รับการคุมครองสิทธิในอาหาร คือ
 คณะรัฐมนตรี  พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อกำหนดใหเขตพื้นที่ใดเปนเขตพื้นที่ที่จำเปนตอง
 สงวนไวเพื่อประโยชนดานความมั่นคงดานอาหารเปนการชั่วคราว  ชุมชนมีแหลงผลิต ปจจัยการผลิต แปรรูปอาหาร  สามารถเขาถึงอาหารที่เพียงพอ
                                                                                   ปลอดภัย และมีคุณคาทาง
 อปท./ เครือขายองคกรชุมชน/ภาคี  สนับสนุนและสงเสริมการสรางความมั่นคงทางอาหารจากฐาน  ใหสามารถพึ่งพาตนเองไดในภาวะวิกฤต  โภชนาการ ไดอยางเปนธรรม
 ที่เกี่ยวของ  ของชุมชน รวมทั้งองคความรูและการใชภูมิปญญาทองถิ่น


 กรมธนารักษ/กรมที่ดิน/การรถไฟแหง  สนับสนุนใหมีมาตรการที่เปนธรรมเพื่อนำที่ดินอันเปนสาธารณ  มีการเพิ่มขึ้นของการนำที่ดินอันเปนสาธารณะ
 ประเทศไทย/อปท./ หนวยงานอื่นที่  สมบัติของแผนดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาใช  สมบัติของแผนดินมาใชเพื่อความมั่นคงทางอาหาร  ในทุกพื้นที่มีระบบการผลิตอาหาร
 เกี่ยวของ  ประโยชนเพื่อความมั่นคงทางอาหาร และสุขภาพของประชาชน  เพื่อรองรับภาวะวิกฤต  และเก็บหาอาหารจากแหลงธรรมชาติ


 ก.เกษตรฯ /ก.ทรัพยากรธรรมชาติและ  สงเสริมสนับสนุนเกษตรกรรม เกษตรกร ครัวเรือน และชุมชน  ประชาชนมีการผลิตหรือเก็บหาอาหารจากแหลง  ที่ทำใหมีความพรอมในการรับมือกับ
 สิ่งแวดลอม/ก.มหาดไทย/หนวยงาน  ใหมีความปลอดภัยและความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญา  ธรรมชาติอยางทั่วถึงและเปนธรรม เพื่อรองรับ  ภาวะวิกฤตไดอยางปลอดภัย มั่นคง
 ที่เกี่ยวของ/ภาคเอกชน /ภาคประชาสังคม  ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใหความสำคัญกับการเขาถึงการใช  ภาวะวิกฤต โดยเปนอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย  และยั่งยืน
 ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน การจัดการน้ำ ความ  และมีคุณคาทางโภชนาการ
 หลากหลายทางชีวภาพ เชน พันธุกรรมพืชและสัตว และคำนึงถึง
 ความยั่งยืน ความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ความเทาเทียมและ
 เปนธรรม รวมถึงการควบคุมคุณภาพ ความปลอดภัย และคุณคา
 ดานการสำรองอาหาร  ทางโภชนาการ

 ก.เกษตร/ก.มหาดไทย/อปท./หนวยงาน  สนับสนุนใหเกิดการผลิตและระบบการสำรองอาหาร ตั้งแต
 และภาคีที่เกี่ยวของ  ระดับประเทศจนถึงระดับชุมชน และครัวเรือนโดยมีรูปแบบ  เกิดระบบการสำรองอาหารเพื่อรองรับภาวะวิกฤต
 ที่หลากหลาย ปลอดภัย เพียงพอ และพรอมกระจาย สอดคลอง  ตั้งแตระดับประเทศจนถึงระดับชุมชน และครัวเรือน
 กับภูมินิเวศวัฒนธรรมของทองถิ่น และวิถีชุมชน                          ในทุกพื้นที่มีการสำรองอาหาร ทั้งอาหาร
                                                                       สด แหง และแปรรูป เพื่อรองรับภาวะ

 ก.การอุดมศึกษา/ก.อุตสาหกรรม/ก.เกษตร/  สนับสนุนชุมชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และเครือขาย  เกิดองคความรูและนวัตกรรมในการผลิต แปรรูป  วิกฤต
 ดานการศึกษาวิจัยในการพัฒนาองคความรู นวัตกรรม
 ก.ศึกษาธิการ/หนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ  ภูมิปญญาทองถิ่นดานการผลิต แปรรูป ถนอมอาหารเพื่อ  และถนอมอาหารเพื่อการสำรองอาหารเพื่อรองรับ
 การสำรองอาหารสำหรับภาวะวิกฤต และกระจายเทคโนโลยี  ภาวะวิกฤตที่มีการใชภูมิปญญาทองถิ่น และมีการ
 สูชุมชม  กระจายเทคโนโลยีสูชุมชน                                          มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๓  ๓1
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38