Page 34 - E-BOOK
P. 34

สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๑๓                                                                                                                                                                      สมัชชาสุขภาพ ๑๓ / หลัก ๓
        ระเบียบวาระที่ ๒.๑                                                                                                                                                                                            ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓




                     ปจจัยนำเขา                                                กระบวนการ                                                         ผลผลิต/ตัวชี้วัด                                     ผลลัพธ/ผลกระทบ


         ดานการกระจาย การแลกเปลี่ยน และการแบงปนอาหาร

         ชุมชน/ผวจ./อปท./เครือขายองคกร                    จัดทำแผนชุมชนเพื่อจัดระบบการกระจาย การแลกเปลี่ยน                      ชุมชนมีแผนชุมชนเพื่อจัดระบบการกระจาย                        ในทุกพื้นที่มีระบบการกระจาย การ
         ชุมชน/ภาคประชาสังคม/ภาคเอกชน/                      และการแบงปนอาหาร เพื่อเตรียมการ และรับมือกับภาวะ                    การแลกเปลี่ยน และการแบงปนอาหาร เพื่อ                      แลกเปลี่ยน และการแบงปนอาหาร
         หนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ/กรมพัฒนา              วิกฤตทั้งภายในชุมชน ชุมชนใกลเคียง และเชื่อมโยงกับ                    เตรียมการ และรับมือกับภาวะวิกฤต                             ที่พรอมรับกับภาวะวิกฤต
         ชุมชน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น                 ชุมชนอื่น ๆ
         ก.มหาดไทย/สป.ก.พาณิชย/กรมสงเสริม
         การเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ ก.เกษตรฯ



         ก.พาณิชย/ก. ดิจิทัลฯ/ก.มหาดไทย/                                                                                         มีระบบที่เชื่อมโยงผูผลิตกับผูบริโภคเขาดวยกัน            ในภาวะวิกฤตผูผลิตและผูบริโภคในพื้นที่
         ก.อุตสาหกรรม/ก.เกษตรฯ/หนวยงาน                   สงเสริมการตลาดที่เชื่อมโยงโดยตรงระหวางผูผลิตกับผูบริโภค             โดยตรง ในรูปแบบตาง ๆ รวมถึงการมีแพลทฟอรม                  ตาง ๆ สามารถติดตอซื้อขายแลกเปลี่ยน
         และภาคีที่เกี่ยวของ/เครือขายองคกร                                                                                     ออนไลน                                                     กันไดโดยตรง
         ชุมชน/ ภาคประชาสังคม/ภาคเอกชน

                                                                                                                                                                                              ในภาวะวิกฤต ระบบตลาดสินคาอาหาร

         ก.พาณิชย/สภาหอการคาฯ/คกก.การ                   สงเสริมใหเกิดการคาที่เปนธรรมระหวางระบบคาปลีกแบบ                   มีนโยบาย และแผนการดำเนินการ เพื่อใหเกิดการ                 ในทุกพื้นที่มีทั้งระบบการคาปลีกแบบ
                                                                                                                                  แขงขันอยางเปนธรรมระหวางระบบคาปลีกแบบ
                                                                                                                                                                                              ดั้งเดิม และระบบการคาสมัยใหม
         แขงขันทางการคา/เครือขายองคกร                 ดั้งเดิม และระบบการคาสมัยใหม รวมถึงการผลักดันการ                      ดั้งเดิม และระบบการคาสมัยใหม รวมถึงมีการ
         ผูบริโภค/หนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ           ดำเนินการตาม พ.ร.บ. การแขงขันทางการคา พ.ศ. ๒๕๖๐                       ปองกันการผูกขาดตลาด                                        ดำเนินการอยูรวมกัน โดยมีการแขงขัน
                                                                                                                                                                                              ที่เปนธรรม



         ก.มหาดไทย/ก.พาณิชย/ก.คมนาคม/                                                                                            มีนโยบายและแนวทางการบริหารจัดการ กระจาย                     ในภาวะวิกฤตอาหารไดรับการบริหาร
         หนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ/เครือขาย           บริหารจัดการ กระจาย แลกเปลี่ยนอาหารจากผูผลิตสูผูบริโภค               แลกเปลี่ยนอาหารจากผูผลิตสูผูบริโภคอยางทั่วถึง           จัดการ กระจาย แลกเปลี่ยน อยางทั่วถึง
         องคกรชุมชน/ภาคประชาสังคม/ภาคเอกชน               อยางทั่วถึง และเปนธรรมในภาวะวิกฤต                                     และเปนธรรมในภาวะวิกฤต                                      และเปนธรรม



         ๔. การพัฒนาระบบดูแลประชากรเปราะบาง และประชาชนที่ขาดความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต




         ก.มหาดไทย/อปท./ก.ดิจิทัลฯ/ก.พัฒนา                พัฒนาฐานขอมูลใหเปนปจจุบัน จัดทำระบบการคนหา                         ชุมชนมีฐานขอมูล ระบบการคนหา และระบบการ                         ในทุกภาวะวิกฤต ประชาชนทุกคนใน
                                                                                                                                                                                                   ทุกพื้นที่ของประเทศไทยจะไดรับการ
         สังคมฯ/หนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ/             ระบบการชวยเหลือ ระบบการสื่อสาร รวมถึงพัฒนา                             ชวยเหลือ มีกลไกของชุมชน มีนโยบาย และแนวทาง                      คุมครองสิทธิในอาหาร คือ สามารถ
                                                                                                                                  ในการสนับสนุนระบบอาสาสมัคร สำหรับการดูแล
         เครือขายองคกรชุมชน/ภาคประชาสังคม               กลไกของชุมชน และสนับสนุนระบบอาสาสมัครให                                ประชากรเปราะบาง และประชาชนที่ขาดความ                             เขาถึงอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย และ

                                                          สามารถชวยเหลือดูแลประชากรเปราะบาง และประชาชน                           มั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต                                        มีคุณคาทางโภชนาการ ไดอยาง
                                                          ที่ขาดความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตไดอยางรวดเร็ว                                                                                       เปนธรรม
                                                          และทั่วถึง ในรูปแบบที่หลากหลาย และสอดคลอง
                                                          เหมาะสมกับชวงวัย บริบทของชุมชน และวิถีวัฒนธรรม





         คณะรัฐมนตรี/ก.พาณิชย/ก.เกษตรฯ/                  จัดระบบและแผนปฏิบัติการนำอาหารที่มีคุณภาพออกมา                          มีระบบการนำอาหารในสตอกอาหาร ออกมา                          ในภาวะวิกฤตประชากรเปราะบางและ
         หนวยงานอื่นที่ดูแลสตอกอาหาร                    กระจายใหทั่วถึงอยางเปนธรรมเพื่อบรรเทาความเดือดรอน                   แจกจายใหกับประชากรเปราะบาง และประชาชน                     ประชาชนที่ขาดความมั่นคงทางอาหาร
                                                          ของประชาชน                                                              ที่ขาดความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต                         ไดรับการดูแลและชวยเหลือไดอยาง
                                                                                                                                                                                              รวดเร็วและทั่วถึง

            ๓2     มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๓
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39