Page 65 - E-BOOK
P. 65

สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๑๓                                              สมัชชาสุขภาพ ๑๓ / หลัก ๔ ผนวก ๑
 ระเบียบวาระที่ ๒.๒                                                                            ๒๗ มกราคม ๒๕๖๔

 เสนทางเดินของมติ การบริหารจัดการวิกฤตสุขภาพแบบมีสวนรวม กรณีโรคระบาดใหญ


 ปจจัยนำเขา  กระบวนการ    ผลผลิต/ตัวชี้วัด                                    ผลลัพธ/ผลกระทบ




 กรมสุขภาพจิต เปนหนวยงานหลัก  กำหนดแนวทางมาตรการในการจัดการปญหาสุขภาพจิต  ๑. ยุทธศาสตร มาตรการลดผลกระทบดานสุขภาพ  ประชาชน องคกร และประเทศไดรับ
 รวมกับสถานศึกษา วัด ศาสนสถานอื่น ๆ  ทั้งในระหวางและหลังการเกิดวิกฤตสุขภาพ ทั้งใน
 และหนวยงานที่เกี่ยวของ  ระยะสั้นและระยะยาว      เศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอม ที่เกิดขึ้นทั้งใน  ผลกระทบในทุกมิติในระดับต่ำ

 สถานพยาบาลภาครัฐและเอกชน กองประกอบ  จัดทำและฝกซอมแผนการตอบสนองรวดเร็วใน      ระหวาง และหลังการเกิดวิกฤตสุขภาพ
 โรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กอง  บริการรูปแบบใหมทั้งระดับวิกฤติ ระบบสงตอ และ  ๒. คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
 สาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานสาธารณสุข  ระบบบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่
 จังหวัด และหนวยงานที่เกี่ยวของ

 กองทุนสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม  สนับสนุนงบประมาณในการสรางอาชีพ และเยียวยา
 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง  ผูไดรับผลกระทบเพื่อใหสามารถพึ่งพาตนเองได
 ของมนุษยเปนหนวยงานหลัก รวมกับ
 กระทรวงแรงงาน หนวยงานภาคเอกชน
 และหนวยงานที่เกี่ยวของ

 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เปนหนวย  จัดทำยุทธศาสตรการจัดการขยะติดเชื้อในชุมชน
 งานหลักรวมกับกรมสงเสริมการปกครอง  และจัดสิ่งแวดลอมที่มีมาตรฐาน ในการปองกัน
 ทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สำนักสิ่งแวดลอม
 กรุงเทพมหานคร กรมโรงงานอุตสาหกรรม   การแพรกระจายของเชื้อใหมีประสิทธิภาพ
 กระทรวงอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ
 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
 และหนวยงานที่เกี่ยวของ



 สำนักงานการวิจัยแหงชาติ สถาบันวิจัยระบบ  กำหนดทิศทางและแนวทางการสนับสนุนงบประมาณ  ๑. แผนยุทธศาสตรดานการวิจัยและนวัตกรรม  สามารถใชประโยชนในการตัดสินใจ
 สาธารณสุข สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร  ในการสรางองคความรูใหมทั้งงานวิจัยพื้นฐานและ
 และเทคโนโลยีแหงชาติ สำนักงานกองทุน  งานวิจัยประยุกตเพื่อรองรับการเกิดวิกฤตสุขภาพ  ๒. งบประมาณในการลงทุนดานการวิจัยและ  เชิงนโยบาย และเกิดการพัฒนาทาง
 สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ และหนวยงาน      นวัตกรรมไมนอยกวารอยละ ๑ ของ GDP   สังคมและเศรษฐกิจ
 ที่เกี่ยวของ   จากโรคระบาดใหญ
               ประเทศ

 กรมวิทยาศาสตรการแพทย กรมควบคุมโรค   สรางความมั่นคงทางดานยา วัคซีน และชุดตรวจ  ๓. งานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถใชประโยชนได
 กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข เปน
 หนวยงานหลักรวมกับกระทรวงการอุดมศึกษา  วินิจฉัยโรค โดยการพัฒนาระบบการจัดหาที่เพียงพอ
 วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม สถาบันวัคซีน  กับความตองการและสนับสนุนอุตสาหกรรมวัคซีน
 แหงชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ  ของประเทศ
 เทคโนโลยีแหงชาติ กลุมสถาบันแพทยศาสตร
 แหงประเทศไทย กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและ
 สหกรณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
 กรมโรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานภาคี
 ที่เกี่ยวของ

 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย  รวมกันพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัยในการสงเสริม
 และนวัตกรรม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร  ปองกัน ควบคุม รักษาโรคที่ทันตอสถานการณ
 และเทคโนโลยีแหงชาติ หนวยงานเอกชนที่
 ผลิตเวชภัณฑและครุภัณฑทางการแพทย
 และหนวยงานที่เกี่ยวของ

                                                                            มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๓  ๖๓
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70