Page 62 - E-BOOK
P. 62

สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๑๓                                                                                                                                                              สมัชชาสุขภาพ ๑๓ / หลัก ๔ ผนวก ๑
        ระเบียบวาระที่ ๒.๒                                                                                                                                                                                            ๒๗ มกราคม ๒๕๖๔


        เสนทางเดินของมติ การบริหารจัดการวิกฤตสุขภาพแบบมีสวนรวม กรณีโรคระบาดใหญ


                     ปจจัยนำเขา                                                 กระบวนการ                                                        ผลผลิต/ตัวชี้วัด                                     ผลลัพธ/ผลกระทบ




         สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง                                                                                      ๑. ไมเกิดภัยพิบัติจากขอมูลขาวสาร และ                     ประชาชนไมเกิดความตื่นตระหนก
         กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม                จัดใหมีชองทางการสื่อสารสาธารณะและสื่อทางเลือก
         แหงชาติ เปนหนวยงานหลักรวมกับ                 ที่หลากหลายในทุกระดับ ประชาชนสามารถเขาถึงได                              ขาวปลอม                                                 และสามารถตัดสินใจในการจัดการ
         กรมประชาสัมพันธ กระทรวงดิจิทัลเพื่อ             งายในทุกกลุม การสรางการมีสวนรวมของประชาชน                          ๒. มีระบบจัดการขอมูลขนาดใหญของประเทศ                      สุขภาพตนเองไดในสถานการณเกิด
         เศรษฐกิจและสังคม กระทรวงสาธารณสุข                ปองกันการเกิดภัยพิบัติจากขอมูลขาวสารที่บิดเบือน                          ที่มีการเชื่อมโยงขอมูลที่ทันเวลา เชื่อถือได           วิกฤตสุขภาพและประเทศเกิดความ
         องคกรวิชาชีพสื่อ และหนวยงานที่เกี่ยวของ                                                                                                                                           มั่นคงของระบบสื่อสารหลักและ ระบบ
                                                                                                                                      และสามารถใชเปนขอมูลในการตัดสินใจ                     สื่อสารสำรอง

         กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม               พัฒนาระบบขอมูลขนาดใหญและจัดการใหมีการ                                   เชิงนโยบายในระดับตาง ๆ
         เปนหนวยงานหลักรวมกับ กระทรวง                   เชื่อมโยงระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในระดับ                           ๓. ประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพในการ
         สาธารณสุข กระทรวงการตางประเทศ                    ประเทศ ใหสามารถใชในการตัดสินใจและการเฝา                                 จัดการตนเองเมื่อเกิดวิกฤตสุขภาพ
         กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน                      ระวังไดในทุกระดับ
         และหนวยงานที่เกี่ยวของ

         สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม
         สุขภาพ เปนหนวยงานหลักรวมกับ                    สรางความรอบรูดานสุขภาพในการปองกันการ
         กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร                   ระบาด และการระบาดซ้ำ
         วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข
         กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและ
         หนวยงานที่เกี่ยวของ




         กระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงาน                      วิเคราะหอัตรากำลังและจัดสรรตำแหนงที่ขาดแคลน                         ๑. แพทยเวชศาสตรปองกันสาขาระบาดวิทยา                      เกิดระบบการแจงเตือนการเกิด
         หลักรวมกับสำนักงานคณะกรรมการ                      ในการเฝาระวังสอบสวนโรค                                                                                                           โรคระบาดและควบคุมในระดับ
         ขาราชการพลเรือน                                                                                                            นักระบาดวิทยา และบุคลากรดานสาธารณสุข
                                                                                                                                     ครบทุกจังหวัดอยางเพียงพอ                                พื้นที่ไดทันเวลา
         กระทรวงสาธารณสุขประสานความ                         จัดโครงสรางระบบบัญชาการเหตุการณ พัฒนาทีม                            ๒. มาตรการทางสาธารณสุข เพื่อการเฝาระวัง

         รวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ                    ตระหนักรูสถานการณ ทีมสอบสวนควบคุมโรค                                    ปองกัน และควบคุมการแพรระบาดของโรค
                                                            สถานที่กักกันโรคแหงรัฐ จัดทำและซอมแผน
                                                            เผชิญเหตุสำหรับการตอบโตภาวะฉุกเฉินของ                                    แบบบูรณาการ
                                                            โรคระบาดใหญและมีการติดตามประเมินผล                                   ๓. บุคลกรทองถิ่นมีศักยภาพในการเฝาระวัง
                                                            อยางตอเนื่อง                                                            และบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทาง


         กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปน                  เตรียมความพรอมองคกรปกครองสวนทองถิ่น                                   สาธารณสุขอยางถูกตอง รวดเร็ว และทัน
         หนวยงานหลัก รวมกับ กรมสนับสนุน                   เพื่อสนับสนุนระบบเฝาระวังและบริหารจัดการ                                 เหตุการณ
         บริการสุขภาพ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค                แผนเผชิญเหตุในทุกระดับในการจัดการภาวะ
         กรมสุขภาพจิต กรมปองกันและบรรเทา                   ฉุกเฉินทางสาธารณสุข สถานที่กักกันโรคทองที่
         สาธารณภัย และหนวยงานที่เกี่ยวของ                 และพัฒนาศักยภาพบุคลากรทองถิ่นใหมีความรู
                                                            และทักษะในการจัดการในสถานการณวิกฤต
                                                            สุขภาพในพื้นที่


            ๖๐     มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๓
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67